1. ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย แสวง บุญเฉลิมวิภาส
ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย แสวง บุญเฉลิมวิภาส ผู้แต่ง : แสวง บุญเฉลิมวิภาส ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 20 : 2565 จํานวนหน้า: 344 หน้า ขนาด : 14.5x21 ซ.ม. (T) รูปแบบ : ปกอ่อน 9786165811477 คํานํา (พิมพ์ครั้งที่ ๒๐) สํานักพิมพ์วิญญูชนได้แจ้งให้ผู้เขียนทราบว่าหนังสือประวัติศาสตร์ กฎหมายไทย ซึ่งพิมพ์ครั้งที่ ๑๙ ได้จําหน่ายใกล้หมดแล้ว และมีความจําเป็น ต้องพิมพ์ขึ้นใหม่เพื่อจัดจําหน่ายให้เพียงพอต่อความต้องการ ผู้เขียนจึง มอบหมายให้สํานักพิมพ์วิญญูชนจัดพิมพ์ใหม่ตามตันฉบับเดิมโดยยังไม่มี การแก้ไขเพิ่มเติม แสวง บุญเฉลิมวิภาส อติรุจ ตันบุญเจริญ มิถุนายน ๒๕๖๕ สารบาญ บทที่ ๑ วิวัฒนาการของกฎหมายโดยทั่วไป ๑. การอุบัติขึ้นของกฎเกณฑ์ในสังคม ๒. วิวัฒนาการของกฎหมายในสามรูปแบบ หรือทฤษฎีกฎหมายสามชั้น ๒.๑ ยุคกฎหมายชาวบ้าน ๒.๒ ยุคหลักกฎหมายหรือยุคกฎหมายของนักกฎหมาย ๒.๓ ยุคกฎหมายเทคนิค บทที่ 2 ความสําคัญและความเป็นมาของการศึกษา วิชาประวัติศาสตรักฎหมายไทย ๑. ความสําคัญของการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ กฎหมาย ๒. ความเป็นมาของการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ กฎหมายไทย ๒.๑ การศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายแบบ นิติประวัติศาสตร์ไทยตามแนวทฤษฎีกฎหมาย ของสํานักประวัติศาสตร์ (Historical School) ๒.๒ การศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายแบบตํานาน ตามแนวทฤษฎีกฎหมายของสํานักกฎหมาย บ้านเมือง (Legal Positivism) บทที่ ๓ การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์และการแบ่งยุค ประวัติศาสตรักฎหมายไทย ๑. การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์ ๒. การแบ่งยุคประวัติศาสตร์กฎหมายไทย ๒.๑ ยุคกฎหมายไทยก่อนสมัยใหม่ (Pre-Modern Law) a (๑) กฎหมายไทยเดิมแท้ ๆ (๒) กฎหมายไทยที่ได้รับอิทธิพลและวัฒนธรรม จากอินเดีย ๒.๒ ยุคกฎหมายไทยสมัยใหม่ (Modern Law) บทที่ < ลักษณะสังคม การปกครองและกฎหมายสมัยสุโขทัย. ๑. ลักษณะสังคม การปกครอง สมัยสุโขทัย ๒. กฎหมายสมัยสุโขทัย หลักฐานจากศิลาจารึกและวรรณกรรมไตรภูมิพระร่วง (๑) เรื่องสถานภาพของบุคคล (๒)เรื่องที่เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน (๓) เรื่องที่เกี่ยวกับการพิจารณาคดีและการลงโทษ ผู้กระทําผิด (๔)เรื่องที่เกี่ยวกับการปกครอง บทที่ & ลักษณะสังคม การปกครองและกฎหมายสมัยอยุธยา ลักษณะสังคม การปกครอง สมัยอยุธยา ๑. ๑ บทบาทของผู้ปกครองแผ่นดินตามความเชื่อ ในลัทธิเทวราช ๑.๒ โครงสร้างและการจัดระเบียบทางสังคม 6. กฎหมายในสมัยอยุธยา ๒.๑ ที่มาของคัมภีร์พระธรรมศาสตร์และความคิด เรื่องธรรมราชา ๒.๒ บทพระอัยการต่างๆ กับการจัดระเบียบในทางสังคม (๑) เรื่องที่เกี่ยวกับการกําหนดสถานภาพของบุคคล ๙๗ (๒) เรื่องที่เกี่ยวกับระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน (๓) เรื่องที่เกี่ยวกับการพิจารณาคดีและ การลงโทษผู้กระทําผิด (๔) เรื่องที่เกี่ยวกับการปกครอง บทที่ ๖ การชําระสะสางกฎหมายในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น.. ๑. ลักษณะสังคม การปกครองในสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ๒. มูลเหตุของการชําระสะสางกฎหมาย ๓. ความสําคัญของกฎหมายตราสามดวง . โครงสร้างของกฎหมายตราสามดวง ๕. การคัดลอกกฎหมายตราสามดวง บทที่ ๗ ลักษณะสําคัญของกฎหมายสมัยใหม่และความจําเป็น ในการรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตก ๑. ลักษณะสําคัญของกฎหมายสมัยใหม่ ๒. ความจําเป็นในการรับกฎหมายสมัยใหม่ จากตะวันตก ๒.๑ปัญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ๒.๒ ความไม่เหมาะสมกับกาลสมัยของ กฎหมายไทยเดิม ๓. การปรับตัวของประเทศไทยเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ บทที่ ๔ การปรับปรุงระบบบริหารราชการแผ่นดิน การปฏิรูป การศาล และกฎหมายในสมัยรัชกาลที่ ๕ ๑. การปรับปรุงระบบบริหารราชการแผ่นดิน ๑.๑ การตั้งที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ๑.๒ การปรับปรุงระบบบริหาร์ราชการแผ่นดิน ๒. การปฏิรูปการศาลและปรับปรุงกฎหมาย เข้าส